เข้าชมเว็บไซต์ สสส.
Skip to main content
talk about SEX logo talk about SEX
Syndicate content

ค้นหา

Primary links

  • หน้าแรก
  • เรื่องน่ารู้
    • เรื่องเด็กเด็ก
    • วัยโจ๋รู้เรื่องเพศ
    • เข้าใจจุดซ่อนเร้น
    • ไขความลับเรื่องเพศ
    • เข้าใจเพศสัมพันธ์อย่างถูกต้อง
    • ทิปคุยได้เรื่องเพศ
  • บอร์ดพูดคุย
  • แบบทดสอบ
  • อัพเดทข่าว
  • มัลติมีเดีย
  • แหล่งข้อมูล
    • ดาวน์โหลด
    • รวมลิงค์ เพศศึกษา
  • รู้จักกัน
    • ติชม/เสนอแนะ
หน้าแรก » เรื่องน่ารู้ » คุยกับ » วิธีพูดเชิงบวกกับลูก...

ขนาดตัวอักษร ขนาดปกติ|ขนาดใหญ่ขึ้น 10%|ขนาดใหญ่ขึ้น 20%|ขนาดใหญ่ขึ้น 30%

วิธีพูดเชิงบวกกับลูก...

วันที่ 19 January 18 11:58:41 | โดย editor

เวลาที่ลูกงอแง ทำตัวไม่น่ารัก หรือกำลัง โกรธเคืองเรื่องใดๆ วิธีการและการเลือกใช้ คำพูดของพ่อแม่นั้นสำคัญมาก ไม่เฉพาะกับ สถานการณ์ตรงหน้า ที่อาจทำให้ดีขึ้นหรือแย่ลง ก็ได้ทั้งนั้น แต่มีอิทธิพลต่อการสร้างความเป็น ตัวตนของลูกที่จะคงอยู่ไปจนโตเลยทีเดียว ลองดูทางเลือกที่น่าสนใจกันนะคะ

            1.รับฟังอย่างตั้งใจ โดยนั่งลงให้สายตาอยู่ใน ระดับเดียวกับลูก ตั้งคำถามเพื่อกระตุ้น ให้ลูกแสดงความคิดความรู้สึกออกมา เช่น “ตอนนั้นลูกรู้สึกอย่างไร?”

            2.ไม่ด่วนตัดสิน อย่าเพิ่งดุหรือโต้เถียงลูก แม้ลูกจะผิดจริงก็ตาม ลองเปิดใจฟังความคิด ลูกก่อน ลูกจะรู้สึกว่าพ่อแม่อยู่ฝ่ายเดียวกับ เขา และอยากให้ความร่วมมือมากกว่าต่อต้าน เช่น “ไหนบอกหน่อยสิ ว่าทำไมถึงไม่อยากไป โรงเรียน?” “ทำไมลูกถึงไม่ยอมเก็บของเล่น?”

            3.ยอมรับความรู้สึก เป็นเรื่องธรรมดาที่ลูกจะยัง ควบคุมอารมณ์ไม่ค่อยได้ พ่อแม่ต้องยอมให้ลูก ได้ปล่อยพลังด้านลบออกมาบ้าง อย่าเพิ่งห้าม ว่า “อย่าโกรธนะ!” หรือ “หยุดร้องไห้ได้แล้ว!” แค่แยกตัวลูกออกมาจากสถานการณ์ต้นเหตุ ไม่ต้องพูดอะไรมาก คอยอยู่เคียงข้างและบอก ว่า “แม่เข้าใจนะ” รอให้ลูกสงบ แล้วค่อยมาว่า กันด้วยเหตุผล พูดไปตอนนี้ก็ไม่ฟังหรอก

            4.ตำหนิที่การกระทำ ไม่ใช่ตัวตน เรื่องนี้สำคัญ ยกตัวอย่างเช่น หากลูกพูดคำหยาบ ให้ย้ำว่า สิ่งที่ไม่ดีคือ คำพูด ไม่ใช่ตัวลูก วิธีนี้จะช่วยให้ ลูกแยกแยะพฤติกรรมไม่ดีออกมาได้ง่าย และ เรียนรู้ที่จะไม่ทำอีก โดยไม่รู้สึกแย่กับตัวเอง หรือคิดน้อยใจไปว่าแม่ไม่รัก แทนที่จะพูดว่า “ลูกแย่มากเลยที่พูดแบบนั้นกับแม่” ให้เปลี่ยน เป็น “คำพูดแบบนั้นไม่ดีเลย ไม่ควรใช้พูด กับคนอื่น”

            5.เป็นตัวอย่างเรื่องการจัดการกับความรู้สึก พ่อแม่ก็คือคนธรรมดาทั่วไปที่มีอารมณ์ความ รู้สึกได้เหมือนกัน บอกให้ลูกรู้ได้ ที่สำคัญต้อง แสดงให้ลูกเห็นว่าความรู้สึกต่างๆ ไม่ได้อยู่กับ เราตลอดไป หาเหตุให้เจอ และหาวิธีจัดการ กับมัน เช่น “แม่รู้สึกเสียใจนะที่ลูกใช้คำพูด แบบนั้น” “ขอเวลาแม่อยู่เงียบๆ สักห้านาที นะ” หรือ “รอให้พ่อใจเย็น หายหงุดหงิดก่อน นะ แล้วเรามาคุยกันใหม่”

            6.นำเสนอทางเลือก เด็กๆก็อยากมีสิทธิในการ เลือกและตัดสินใจได้ด้วยตัวเองแบบผู้ใหญ่ บาง ครั้งเมื่อลูกงอแงไม่ยอมทำตาม ลองเปลี่ยน จากการใช้คำสั่งเป็นการเปิดโอกาสให้ลูกเลือก บ้าง เช่น แทนที่จะบอกว่า “มาแต่งตัวได้แล้ว ลูก” ให้พูดว่า “ลูกอยากใส่ชุดสีส้ม หรือสีฟ้า จ๊ะ?” เปลี่ยนจาก“แปรงฟันได้แล้วลูก” เป็น “ลูกอยากแปรงฟันก่อน หรือจะอาบน้ำก่อน” ให้หลีกเลี่ยงคำถามที่จะเปิดช่องให้ลูกตอบว่า “ไม่!” ได้ง่ายๆ

 

ที่มาข้อมูล: เว็บไซต์thaihealth.or.th

 

 

                                                     update : 19-01-61

                                                     อัพเดทโดย : จารุทรรศน์ สิทธิสมบูรณ์

หมวดหมู่ :
  • คุยกับ
  • งอแง
  • ทางเลือก
  • ยอมรับ
  • รับฟัง
  • ลูกเรื่องเพศ
  • เรื่องเด็กเด็ก
  • เรื่องเพศ
  • เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก เพื่อแสดงความคิดเห็น
  • เปิดอ่าน 599 ครั้ง
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ

ทิปคุยได้เรื่องเพศ

  • เริ่มคุยเรื่องเพศกับลูกเมื่อไหร่ดี?
  • คำถาม(เรื่องเพศ)ยอดฮิตที่ลูกชอบถาม
  • ทำความเข้าใจ ‘อาการโรคจิต’
  • 10 ความคิดเปลี่ยน ชีวิตก็เปลี่ยน
  • คุยเรื่องเพศกับลูกอย่างไรดี?
  • ‘8 วอร์มอัพ’ ก่อนคุยเรื่องเพศกับลูก
  • `หอยแครง` กินได้สบายใจ
  • `เหนื่อยใจ-เข้าใจ-รักใคร่-ลูกวัยรุ่น` ตอนที่ 2
  • 'เหนื่อยใจ-เข้าใจ-รักใคร่-ลูกวัยรุ่น’ ตอนที่ 1
  • “รักลูก” ต้องสอนลูกให้ “รักเป็น”

เรื่องเด็กเด็ก

  • การนอนหลับที่ดีทำอย่างไร
  • เปลี่ยนอารมณ์ติดลบ เป็นอารมณ์บวก
  • ทำความรู้จักประเภทของอารมณ์
  • กินอย่างไรเมื่อ ท้องเสียเฉียบพลัน
  • ปวดหัวข้างเดียว อาจไม่เกี่ยวกับไมเกรน
  • ดื่มน้ำอย่างไรให้ร่างกายสดชื่น
  • เย็นนี้กินยังไงดี ?
  • เรื่องที่ต้องเลี่ยงหลังกินอิ่ม
  • ยืดเหยียดเพื่อยืดหยุ่น
  • กินอาหารอย่างถูกวิธี ตามแพทย์แผนตะวันตก คือปฏิบัติดังนี้

วัยโจ๋รู้เรื่องเพศ

  • CHECKLIST คุณกำลังเข้าข่ายคนบ้างานหรือไม่
  • เปลี่ยนตัวเองต้องตั้งใจ ไม่ใช่อาศัยความกดดันไปวัน ๆ
  • กินยาคุมแบบ21เม็ดครบแล้ว เว้น7วัน ประจำเดือนไม่มาซะงั้น
  • นี่คือสิ่งที่คนมีความสุขจะทำ ใน 5 นาทีแรกของวันตั้งแต่ตื่นนอน
  • ผู้หญิงช่วยตัวเองแล้วเลือดออก เกิดจากอะไรได้บ้าง
  • ผลของสุราและแอลกอฮอล์ที่มีต่อร่างกาย
  • เลิกบุหรี่ ต้องตั้งใจลงมือทำ
  • พูดไม่รู้เรื่อง กล้ามเนื้ออ่อนแรง อาจเป็นโรคโมยาโมยา
  • การขจัดความเครียด
  • ภาวะอารมณ์กับความเครียด

เข้าใจจุดซ่อนเร้น

  • หนุ่มๆ ต้องดูแลน้องชายอย่างไร ให้สะอาดและสุขภาพดี
  • เลิกอาย ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ป้องกันได้
  • ปวดท้องตรงกลาง ปวด ๆ หาย ๆ ป่วยอะไรได้บ้าง
  • “ขี้เปียก” เรื่องที่ผู้ชายควรใส่ใจ
  • 7 อาหารแก้ปวดประจำเดือน กินแล้วชีวิตดี๊ดี
  • มีตกขาว ไม่ต้องตกใจ
  • เข่าลั่นขณะปั่น สัญญาณปัญหาเข่า
  • ว่าด้วยข้อเท็จจริงและความเอียงเอนของอวัยวะเพศชาย
  • ผ่าตัดมะเร็งเต้านม ควรดูแลตัวเองแบบไหน
  • ริดสีดวงทวารหนัก...ดูแลสุขภาพอย่างไร

ไขความลับเรื่องเพศ

  • ผู้ชายแมนจริงต้องอึดเวลาร่วมเพศงั้นหรือ?
  • อวัยวะเพศชายหักได้อย่างไร ในเมื่อไม่มีกระดูก?
  • หนูๆวัยอนุบาลกับ “การช่วยตัวเอง”
  • ก่อนมีเมนส์ ..อาการไหนไม่ปกติ?
  • วิถีชีวิตประจำวันที่มีผลต่อหมอนรองกระดูก
  • เมื่อมีลูกสาววัยรุ่น
  • 5 สารอาหารเสริมสร้างความแข็งแรงสำหรับคุณผู้ชาย
  • รู้ทันมะเร็งปากมดลูก
  • การทำหมันหญิง
  • “เอชพีวี” ที่คนส่วนใหญ่เข้าใจผิด

เข้าใจเพศสัมพันธ์อย่างถูกต้อง

  • เคล็ด (ไม่) ลับ หยุดความรุนแรงในครอบครัว
  • 5 สิ่งควรรู้สำหรับผู้หญิง
  • 7 วิธีรักษาความรัก เมื่อหัวใจของคุณกำลังอ่อนแอ
  • เคล็ด(ไม่)ลับ สร้างสุขชีวิตคู่
  • เสริมสร้างภูมิคุ้มกันเมื่อรักผิดหวัง
  • มีอะไรกันแบบนี้จะท้องไหม?
  • สร้างภูมิคุ้มกัน เมื่อรักผิดหวัง
  • เซ็กส์หลังคลอด…เมื่อไรดี?
  • 10 กฎเหล็กเพื่อชีวิตคู่
  • 9 วิธี `รัก` อย่างไรไม่เป็นทุกข์
creative-commons แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย
  • logo-Thaihealth
  • logo-Whaf
  • logo-Changefusion
  • logo-Opendream